สธ. หนุน เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก เพื่อขับเคลื่อน “พลังแห่งการเล่น สู่พลังแห่งชีวิต”

ดร.สาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข เดินหน้าโครงการเด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลกภายใต้แนวคิด “พลังแห่งการเล่น สู่พลังแห่งชีวิต” พร้อมด้วย นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย , นายประยูร รัตนเสนีย์ อธิบตีกรมส่งเสริมการปกตรองท้องถิ่น , นายแพทย์สราวุฒิ บุญสุข , นายแพทย์เอกชัย เพียรตรีวัชรองอธิบดีกรมอนามัย,  นายแพทย์มณเฑียร คณาสวัสดิ์ รองอธิบดีกรมอนามัย , แพทย์หญิงนพวรรณ ศรีวงศ์พานิชผู้อำนวยการสถาบันราชานุกูล ,นางสาวณัฐยา บุญภักดี ผู้อำนวยการสำนักสนับสนุนสุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัวสำนักงานสนับสนุนกการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) , นายเซษฐา มั่นคง ผู้อำนวยการมูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก และภาศีเครือข่าย

ดร.สาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า เด็กปฐมวัยเป็นวัยเริ่มต้นของชีวิตและพัฒนาการในทุกๆ ด้าน เป็นช่วงเวลาที่พัฒนาการด้านต่าง ๆ เป็นไปอย่างรวดเร็วที่สุด และเป็นรากฐานที่สำคัญสำหรับพัฒนาการในช่วงวัยต่อ ๆ ไป กระทรวงสาธารณสุขจึงให้ความสำคัญกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยผ่านการเล่น โดยประกาศนโยบายเด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก ส่งเสริมให้เด็กในวัยปฐมวัยได้มีโอกาสที่จะได้ “เล่น” เพราะการเล่น คือ การเรียนรู้ คือ การสร้างทักษะ เพื่อให้เต็กได้เติบโต อย่างเป็นธรรมชาติตามจังหวะของตนเองและต้นพบตัวตนในที่สุดโดยเฉพาะการเคลื่อนไหวร่างก าย เช่น กรยืน เดิน กระโตด ปั่น วิ่ง ปีน คลาน มุดลอด อย่างน้อย 180 นาที ต่อวัน ลดเวลาการเด่นจอ หรือดูโทรทัศน์ ที่มีผลเสียต่อการพัฒนาสมอง สมาธิ และเสี่ยงต่อภาวะออทิสติกเทียมและสมาธิสั้น โดยเฉพาะในช่วงสถานการณ์กรระบาดของโรดโควิด-19 ส่งผลกระทบให้เด็กปฐมวัยชาดการพัฒนาการด้านต่าง ๆ เน้นกิจกรรมการเล่นกับเพื่อน ๆ  เนื่องจากโรงเรียน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเปิดสอนแบบออนไลน์ เด็ก ๆ ต้องใช้เวลาในการเรียนออนไลน์ผ่านอุปกรณ์มือถือ แท็ปเล็ต อยู่ที่บ้าน

“ทั้งนี้ การส่งเสริมการเล่นจึงเป็นการกระตุ้นสมองให้เปิดรับการเรียนรู้ ผ่านความรู้สึกสนุก ก่อให้เกิดวงจรก ารเรียนรู้และพัฒนาการที่รอบด้าน ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ สติปัญญา และช่วยเสริมทักษะการคิดเชิงบริหาร EF(Executive Function) ในการจัดการความคิด ความรู้สึกและการกระทำ การยั้งใจศิดไตร่ตรอง การควบคุมอารมณ์การยืดหยุ่นท งความคิด การวางแผน ตั้งเป้าหมาย มุ่งมั่น แก้ไขปัญหา ช่วยเหลือตัวเจงได้เมื่ออยู่ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ด้วยตนเอง การป ฏิสัมพันธ์กับเพื่อน และพ่อแม่ผ่านการเล่น ซึ่งช่วงวัยปฐมวัย ตั้งแต่อายุ 2 – 6 ปีเป็นช่วงเวล าที่สำคัญ (Golden opportunity/) ในการพัฒนาทักษะ EF ให้กับเต็ก เพื่อเตรียมพร้อมก้าวเข้าสู่วัยเรียน วัยรุ่นและวัยทำงาน ให้สามารถปรับตัว ยู่ร่วมกับสังคมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สามารถตั้งเป้าหมายชีวิตได้อย่างชัดเจนเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภ าพ พร้อมที่จะขับเคลื่อนโครงการเด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก ภายใต้แนวคิด “พลังแห่งการเล่นสู่หลังแห่งชีวิต “ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าว

ทางด้าน นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบตีกรมอนามัย กล่าวว่า การเล่นของเด็กปฐมวัยและวัยประถมศึกษามีความสำคัญและมีคุณค่า เพราะการเรียนรู้ของเต็กวัยนี้ ที่เหมาะสมคือการเรียนรู้ผ่านก ารเล่นและการเรียนรู้อย่างมีความสุข การเล่นที่ดีจะส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ ปัญญา อารมณ์ สังคม มีวินัย มีการวิเคราะห์เกิดความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้การปรับตัว และพัฒนาการอารมณ์ 

ความสัมพันธ์กับผู้อื่น โดยมี 4 องค์ประกอบหลักสำคัญในการส่งเสริมให้เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก เพื่อขับเคลื่อนโครงการเด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก ภายใต้แนวคิด “พลังแห่งการเล่นสู่พลังแห่งชีวิต” ได้แก่ 

1) พื้นที่เล่น (Space) ต้องสอดรับกับบริบทแต่ละพื้นที่ เป็นสถานที่ปลอดภัย และสามารถเล่นได้ทุกที่ทุกช่วงเวลา 

2) ผู้อำนวยการเล่น (Play worker) ผู้ที่สนับสนุนการเล่นของเต็ก โดยยึดเต็กเป็นศูนย์กลางตำเนินการผ่านพ่อแม่ผู้ปกครอง และชุมชน 

3) กระบวนการเล่น (Play process) เน้นการเล่นที่ฮิสระ ตรอบครัว มีส่วนร่วม และเป็นการเล่นที่ส่งเสริมสุขภาพทางกาย การเจริญเติบโต เช่น วิ่ง กระโดด ขว้าง ปีนป่าย วิ่งเขี้ยว วิ่งเก็บของ เป็นต้น

4) หน่วยบริหารจัดการการเล่น (Play Management Unit) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของครอบครัว สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยหน่วยบริการสาธารณสุข จงค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชนกรมอนามัย / 24 มีนาคม 2565กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี

Related posts